วันพฤหัสบดีที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนครั้งที่ 16

              บันทึกการเรียนครั้งที่ 16
       วัน พฤหัสบดี ที่ 28 เมษายนพ.ศ 2559
         เวลา 08:30 - 12: 30 ชดเชย



เนื้อหาที่เรียน
- ให้นั่งเป็นกลุ่มและเรียงตามวันที่สอน 5 วัน สอนเรื่องการเขียนแผนว่ามีอะไรบ้างและเขียนอย่างไร
- สาระที่ควรรู้ ธรรมชาติรอบตัว
- เนื้อหา ชนิด ลักษณะ การเจริญเติบโต ประโยชน์ โทษ
- แนวคิด ผักเป็นพืชล้มลุกทร่เป็นธรรมชาติรอบตัว มีชื่อเรียกแตกต่างกันออกไป มีลักษณะที่เหมือนและแตกต่าง เช่น สี กลิ่น ส่วนประกอยต่างๆ การเจริญเติบโตหรือขยายพันธุ์ มีประโยชน์และโทษ
-การจัดประสบการณ์ ทั้ง 4 ด้าน
-บรูณาการ ภาษา คณิต สังคม ศิลปะ




ทักษะ/ระดมความคิด
-ทักษะการแก้ไขปัญหา
-ทักษะการคิด

การไปประยุกต์ใช้
การนำกิจกรรมไปใช้ในการสอนเด็ก ทั้งเกม สื่อวัสดุต่างๆ



บรรยากาศในห้องเรียน

ห้องดูสะอาด แอร์เย็น เครื่องมืออุปกรณ์ใช้พอดี

การจัดการเรียนการสอน
 ได้เตรียมการสอนเป็นขั้น และเข้าใจง่าย
วิเคราะห์ตนเอง
ตั้งใจเรียนและเข้าใจในการสอน

บันทึกการเรียนครั้งที่ 15

              บันทึกการเรียนครั้งที่ 15
       วัน ศุกร์ ที่ 22 เมษายน พ.ศ 2559
         เวลา 08:30 - 12: 30



เนื้อหาที่เรียน


ในวันนี้อาจารย์สอนเทคนิคในการสอนขั้นเตรียมกับเด็กที่เราสามารถไปประยุกต์ใช้ได้ดังนี้
- นิทาน
- คำคล้องจง
- เพลง
- คำถาม
- เกมการศึกษา
โดยอาจารย์แนะนำว่านิทานสามารถนำเข้าสู่บทเรียนแต่ควรใช้ให้คุ้มอาจจะใช้ในเรื่องประโยชน์และโทษในหน่วยของตนก็ได้ 

-ในวันนี้อาจารย์ได้มอบหมายให้แต่ละกลุ่มช่วยกันแต่งนิทานและทำเป็นนิทานเล่มใหญ่เพื่อใช้ในการสอนเด็กได้และต้องเชื่อมโยงกับคณิตศาสตร์ 

-และมีอาจารย์ค่อยแนะนำอย่างใกล้ชิดค่อยสอนว่าต้องนี้สามารถปรับเป็นคณิตศาสตร์ได้ดี 


ทักษะ/ระดมความคิด
-ทักษะการแก้ไขปัญหา
-ทักษะการคิด

การไปประยุกต์ใช้
การนำกิจกรรมไปใช้ในการสอนเด็ก การเล่านิทาน ให้เด็กๆได้สนใจในคณิตศาสตร์โดยแทรกจำนวนการนับลงไป



บรรยากาศในห้องเรียน

ห้องดูสะอาด แอร์เย็น เครื่องมืออุปกรณ์ใช้พอดี

การจัดการเรียนการสอน
 ได้เตรียมการสอนเป็นขั้นเป็นตอน ให้เข้าใจง่าย
วิเคราะห์ตนเอง
เริ่มเข้าใจในการเรียนมากขึ้น

วันศุกร์ที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนครั้งที่ 14

      บันทึกการเรียนครั้งที่ 14

        วัน ศุกร์ ที่ 15 เมษายน พ.ศ 2559

            เวลา 08:30 - 12: 30

หยุดวันสงกานต์


บันทึกการเรียนครั้งที่ 13

             บันทึกการเรียนครั้งที่ 13
       วัน ศุกร์ ที่ 8 เมษายน พ.ศ 2559
                เวลา 08:30 - 12: 30
เรียนรู้ด้วยตนเอง

วันพุธที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนครั้งที่ 12


                บันทึกการเรียนครั้งที่ 12
       วัน ศุกร์ ที่ 1เมษายน พ.ศ 2559
          เวลา 08:30 - 12: 30
เนื้อหาที่เรียน
- วันนี้ให้นำเสนอการสอน ได้สอนวันจันทร์
ขั้นนำ
คำคล้องจอง ผัก
ผักนั้นมีมากมาย  หลากหลายสีสัน
กินใบกินดอกกินผลนั้น. นานาพันธุ์มากมี
ได้แก่ คะน้า กวางตุ้ง อีกทั้งแตกกวา บล็อกโครี่  ผักกาดขาว มะเขือเทศ  นั้นมี
เด็กดักินผักกันเอย


ขั้นสอน
-ให้แยก ชนิด 
การนับ เปรียบเทียบโดยการจับออกทีละแถว 






ทักษะ/ระดมความคิด
-ทักษะการแก้ไขปัญหา
-ทักษะการคิด

การไปประยุกต์ใช้
การนำกิจกรรมไปใช้และให้เด็กได้นับเลขโดยไม่น่าเบื่อ 



บรรยากาศในห้องเรียน

ห้องดูสะอาด แอร์เย็น เครื่องมืออุปกรณ์ใช้พอดี

การจัดการเรียนการสอน
 ได้เตรียมการสอนสื่อ และ การแนะนำเป็นอย่างดี

วิเคราะห์ตนเอง
ยังทำไม่ได้ดี เพราะ ยังไม่รู้เทคนิคการสอน และ ไม่เคยดูการสอนในแบบจริงก็เลยยังไม่เข้าว่าจะเริ่มการสอนและเตรียมการสอนอย่างไรบ้าง

วันอังคารที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนครั้งที่ 11

              บันทึกการเรียนครั้งที่ 11
       วัน ศุกร์ ที่ 25 มีนาคม พ.ศ 2559
         เวลา 08:30 - 12: 30

เนื้อหาที่เรียน
- ให้นั่งเป็นกลุ่มและเรียงตามวันที่สอน 5 วัน และให้คิดว่า ในแต่วันนั้นมีการสอนอะไรบ้าง และให้เขียนเตรียมการสอนของแต่ละวัน และเล่าให้เพื่อนฟัง 
ตัวอย่าง
หน่วยผัก
วันจันทร์ >>> ชนิดของผัก

ก็จะแบ่งออก เป็น สามชนิด เช่น ผักกินใบ ผักกินดอก ผักกินผล

ขั้นนำก็ อ่านคำคล้องจอง
ขั้นสอน แยกชนิด การนับ เปรียบเทียบ



ทักษะ/ระดมความคิด
-ทักษะการแก้ไขปัญหา
-ทักษะการคิด

การไปประยุกต์ใช้
การนำกิจกรรมไปใช้ในการสอนเด็ก การนับ



บรรยากาศในห้องเรียน

ห้องดูสะอาด แอร์เย็น เครื่องมืออุปกรณ์ใช้พอดี

การจัดการเรียนการสอน
 ได้เตรียมการสอนสื่อ และ อุกปกรณ์เป็นอย่างดี

วิเคราะห์ตนเอง
ยังไม่เข้าใจ และตัวเองก็ยังไม่มีเทคนิคในการสอน 

บันทึกการเรียนครั้งที่ 10

               บันทึกการเรียนครั้งที่ 10
       วัน ศุกร์ ที่ 18 มีนาคม พ.ศ 2559
        เวลา 08:30 - 12: 30

เนื้อหาที่เรียน
   - รวบรวมความคิด ทำมายแม็บให้สอดคล้องและบูรณาการเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ ให้ครบ 5 วัน

หน่วยผัก
วันจันทร์ >>> ชนิดของผัก
วันอังคาร >>> ลักษณะ
วันพุธ >>> การดูแล
วันพฤหัสบดี >>> ประโยชน์
วันศุกร์ >>> ข้อระวังหรือโทษ

และให้แยกออกมา 

ทักษะ/ระดมความคิด
-ทักษะการแก้ไขปัญหา
-ทักษะการคิด

การไปประยุกต์ใช้
การนำกิจกรรมไปใช้กับการสอน สามารถนำไปบูรณาการให้เด็กได้เรียนรู้



บรรยากาศในห้องเรียน

ห้องดูสะอาด แอร์เย็น เครื่องมืออุปกรณ์ใช้พอดี

การจัดการเรียนการสอน
 ได้เตรียมการสอนดี

วิเคราะห์ตนเอง
ยังไม่เข้าใจค่อยเข้าใจในการเรียน


วันศุกร์ที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนครั้งที่ 9


                บันทึกการเรียนครั้งที่ 9
    วัน ศุกร์ ที่ 11 มีนาคม พ.ศ 2559
     เวลา 08:30 - 12: 30
เนื้อหาที่เรียน

ทำแผ่นไอคิว

ตัวแบบ

ใช้กล่องรัง

ตัดตรงกลาง


จะเป็น 2 ชิ้น

แกนกลางจะตัดเป็นชิ้นส่วน 4 ชิ้น


จะได้แบบนี้



การเล่น


อุปกรณ์การทำ
- รังกระดาษ
-กาว
-กรรไกร หรือ คัดเตอร์
-ดินสอ
-ไม้บรรทัด


ทักษะ/ระดมความคิด
-ทักษะการวัด
-ทักษะการแก้ไขปัญหา
-ทักษะการคิด

การไปประยุกต์ใช้
การนำกิจกรรมไปใช้และให้เด็กได้ใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า และจิตนาการของเด็ก ความคิดสร้างสรรค์



บรรยากาศในห้องเรียน

ห้องดูสะอาด แอร์เย็น เครื่องมืออุปกรณ์ใช้พอดี

การจัดการเรียนการสอน
 ได้เตรียมการสอนสื่อ และ การทำ

วิเคราะห์ตนเอง
ยังไม่เข้าใจคำถาม แต่ก็ทำได้ 





วันพฤหัสบดีที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนครั้งที่ 8

                 บันทึกการเรียนครั้งที่ 8
       วัน ศุกร์ ที่ 4 มีนาคม พ.ศ 2559
                เวลา 08:30 - 12: 30

เนื้อหาที่เรียน

ให้แบ่งช่องกระดาษ สองช่อง

พอแบ่งก็จะได้แบบนี้ ความคิดแต่ละคนจะแตกต่างกัน

นำกระดาษแผ่นใหญ่มาตีช่องใหญ่ตามเส้น


ต่อไปเทกาวแปะกับกระดาษลัง


แล้วเอากระดาษจาวทร่เตรียมไว้มาติดกับกระดาษลัง


นำสองชิ้นมาปะกบกัน ให้พับได้ และเคลือบสติ๊กเกอร์ใส


นำเทปดำมาทำเส้นตารางที่ขีดไว้





ทักษะ/ระดมความคิด
-ทักษะการตอบคำถาม
-ทักษะการแก้ไขปัญหา
-ทักษะการคิด

การไปประยุกต์ใช้
การนำกิจกรรมไปใช้และให้เด็กได้เล่น และสามารถเก็บอุปกรณ์ได้ง่าย และประหยัดต่อสื่อการสอน


บรรยากาศในห้องเรียน

ห้องดูสะอาด แอร์เย็น เครื่องมืออุปกรณ์ใช้พอดี

การจัดการเรียนการสอน
เนื้อหาที่ทำดูน่าตื่นเต้น บางครั้งก็ งง การเรียนการสอนเตรียมอย่างดี


วิเคราะห์ตนเอง
ยังไม่เข้าใจกับคำถาม และ บางครั้งก็ไม่กล้าตัดสินใจด้วยตนเอง







บันทึกการเรียนครั้งที่ 7

               บันทึกการเรียนครั้งที่ 7
       วัน ศุกร์ ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ 2559
               เวลา 08:30 - 12: 30

สอบกลางภาค

วันพฤหัสบดีที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนครั้งที่ 6

บันทึกการเรียนครั้งที่ 6
วัน ศุกร์ ที่ 19กุมภาพันธ์ พ.ศ 2559
เวลา 08:30 - 12: 30

เนื้อหาที่เรียน

1.ให้ทำรูปสามเหลี่ยมคนละ1รูปจากไม้และดินน้ำมันที่มีอยู่


วิเคราะห์โจทย์
⬇️

ศึกษาวัสดุที่มีอยู่
⬇️

ลงมือทำ
⬇️

ผลงาน
⬇️

นำเสนอ

2.จับคู่ 2คน ทำรูปทรง 3เหลี่ยม


มองต่างมุม จะเห็นต่างกัน การเปลี่ยนแปลง มาตราฐาน สาระที่ 3 เรขาคณิต

3. ให้ทำรูปสี่เหลี่ยม


รูปทรงสี่เหลี่ยม


การสอน โดยใช้ปัญหา ที่สร้างขึ้นมาให้ลองผิดลองถูก เมื่อสร้างชิ้นงานออกมา แล้วนำเสนอชิ่นงานแบบกราฟฟิก ค้นพบ ความรู้ ประสบการณ์ บูรณาการศิลปะสร้างสรรค์

ทักษะ/การคิด
-การคิด
-การแก้ปัญหา






การไปประยุกต์ใช้
การนำกิจกรรมไปใช้และให้เด็กได้ใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้าให้เหมาะสมกับวัย


บรรยากาศในห้องเรียน

ห้องดูสะอาด แอร์เย็น เครื่องมืออุปกรณ์ใช้พอดี

การจัดการเรียนการสอน
เนื้อหาที่เรียนทำให้สนุก ได้คิด ได้ลองทำด้วยตนเอง


วิเคราะห์ตนเอง
เข้าใจบ้างไม่เข้าใจบ้าง ตั้งใจเรียน







วันพฤหัสบดีที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนครั้งที่ 5

บันทึกการเรียนครั้งที่ 5
วัน ศุกร์ ที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ 2559
เวลา 08:30 - 12: 30

เนื้อหาที่เรียน

ให้ตีตรางสองแถวสิบช่อง และ 3 แถวมีสิบช่อง
ให้เด็กระบายที่ช่องให้เป็นรูปทรงแล้วตัดออกมา
 ก็จะเห็นว่ารูปทรงเหมือนกัน แค่กลับด้าน พลิกหมุน

วิธีการเรียนรู้ คือ ประสาทสัมผัสทั้ง 5
พัฒนาการ คือ ความสารถของเด็ก
การเรียนรู้ คือ เด็กได้รับความรู้

-เด็กได้ลงมือทำที่มีอิสระ
-เลือกและตัดสินใจโดยตนเอง
-การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม

ทักษะ/ระดมความคิด
-ทักษะการตอบคำถาม
-ทักษะการแก้ไขปัญหา
-ทักษะการคิด

การไปประยุกต์ใช้
การนำกิจกรรมไปใช้และให้เด็กได้ใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้าให้เหมาะสมกับวัย


บรรยากาศในห้องเรียน

ห้องดูสะอาด แอร์เย็น เครื่องมืออุปกรณ์ใช้พอดี

การจัดการเรียนการสอน
เนื้อหาที่ทำดูน่าตื่นเต้น บางครั้งก็ งง การเรียนการสอนเตรียมอย่างดี


วิเคราะห์ตนเอง
ไม่ค่อยเก่งคณิต ยังไม่ค่อยเข้าใจบ้างเป็นบางครั้ง บ้างครั้งก็ยังตามไม่ทัน




วันเสาร์ที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนชดเชย

         บันทึกการเรียนชดเชย
   วัน พุธ  ที่ 3 กุมภาพันธ์  2559




เนื้อหาที่เรียน

สาระและมาตราฐานการเรียนรู้
สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินงาน
เข้าใจถึงความหลากหลายการแสดงจำนวนและการใช้จำนวนในชีวิตจริง เช่น สอดคล้องกัลชีวิตประจำวัน
-บอกปริมาณจากการนับ
-อ่านตัวเลขฮินดูอารบิกและไทย
-เขียนตัวเลขฮินดูอารบิกแสดงจำนวน
-เปรียบเทียบ
-เรียงลำดับ

การรวมและการแยกกลุ่ม
-ความหมายของการรวม
-รวมสิ่งต่างๆสองกลุ่มที่มีผลรวมไม่เกิน 10
-ความหมายของการแยก
-แยกกลุ่มย่อยออกจากกลุ่มใหญ่ที่มีจำนวนไม่เกิน10

สาระที่ 2 การวัด

เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัดความยาว น้ำหนัก ปริมาตร เงิน และเวลา

การวัด เป็นทางการ -ไม้บรรทัด  สายวัด ตลับเมตร
         ไม่ทางการ  - มือ
         กึ่งทางการ  - เชือก  กระดาษ

น้ำหนัก เป็นทางการ - ตราชั่ง
           ไม่ทางการ  - มือ
            กึ่งทางการ  - ตราชั่งสองแขน

ปริมาตร เป็นทางการ - ลิตร 
         ไม่ทางการ  - มือ
         กึ่งทางการ  - แก้ว

เวลา เป็นทางการ -นาฬิกา
         ไม่ทางการ  -พระอาทิตย์
         กึ่งทางการ  - 

ความยาว น้ำหนัก  และปริมาตร

การเปรียบเทียบ/การวัด/การเรียงลำดับกับความยาว
การเปรียบเทียบ/การชั่ง/การเรียงลำดับกับน้ำหนัก
การเปรียบเทียบปริมาตร/การตรวง

สาระที่ 3 เรขาคณิต
 ทิศทาง การบอกตำแหน่ง ระยะทาง จำแนกรูปเรขาคณิต
เช้าใจการเปลี่ยนแปลงรูปเรชาคณิตที่เกิดจากการจักกระทำ


สาระที่ 4 พีชคณิต

-เข้าใจแบบรูปและความสัมพันธ์



สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
-รวบรวมข้อมูล
-แผนภูมิอย่างง่าย


สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการ

-การแก้ไขปัญหา
-การให้เหตุผล
-การสื่อสาร
-การนำเสนอ
-การเชื่อมโยง
-ความคิดสร้างสรรค์


ทักษะ / ระดมความคิด
-ทำงานร่วมกัน
-การแก้ปัญหา

การประยุกต์ใช้ 
-สามารถนำมาสอนให้กลับเด็กๆและสามารถนำมาใช้ได้

บรรยากาศในห้องเรียน
-ห้องสะอาด น่าเรียน

การจัดการเรียนการสอน
- มีการเตรียมการเรียนการสอนอย่างดี
วิเคราะห์ตนเอง
- มีความเข้าใจในการเรียนการสอนคณิตศาสตร์สำหรับปฐมวัยมากขึ้น 

วันอังคารที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนครั้งที 3



เนื้อหาที่เรียน
ตั้งประเด็นปัญหาในการแจกกระดาษจำนวนคนละ 1 เป็นการใช้การกระดาษในการเขียนชื่อ และให้ไปแปะที่หน้ากระดาน

1.นับและบอกจำนวน
2.เกิดทักษะ
3.รู้จักเขียนและตัวเลข
4.เลขฮินดูอารบิก
5.การแบ่งกลุ่มให้เท่ากัน

ความรู้
-เนื้อหาสาระ
-จำนวนนับ
-การนับ
-บวกค่า
-ตัวเลขอารบิก
-การเปรียบเทียบ
-การนับน้อยและมากที่เหลือ

ทักษะ
-การคิด
-การนับ
-บวกจำนวน

ปัญหา
-การเรียงแถวยาว
-แบ่งกลุ่ม
-เรียงซ้ายไปขวา (อ่านภาษาที่กำหนด)



                                            เพลงคณิตศาสตร์
   เพลงสวีสดียามเช้า
ตื่นเช้าแปรงฟันล้างหน้า   อาบน้ำแล้วมาแต่งตัว
กินอาหารของดีมีทั่ว        หนูเตรียมตัวจะไปโรงเรียน
สวัสดีคุณแม่คุณพ่อ        ไม่รีรอรีบไปโรงเรียน
หลั่นล้า หลั่นลา หลั่นหล่า หลั่น ลันลา หลั่นลา หลั่นล้า

เพลงสวัสดีคุณครู
สวัสดีคุณครูที่รัก            หนูจะตั้งใจอ่านเขียน
ยามเช้าเรามาโรงเรียนๆ   หนูจะพากเพียรขยันเรียนเอย

เพลงหนึ่งปีมีสิบสิงเดือน
หนึ่งปีนั้นมีสิบสองเดือน   อย่าลืมเลือนจำไว้ให้มั่น
หนึ่งสัปดาห์นั้นมีเจ็ดวัน    อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ พฤหัส ศุกร์ เสาร์ 

เพลงเข้าแถว
เข้าแถว เข้าแถว   อย่าล้ำแนวยืนเรียงกัน
อย่ามัวแชเชือน    เดินตามเพื่อนให้ทัน 
ระวังเดินชนกัน     เข้าแถวพลันว่องไว

เพลงจัดแถว
สองมือเราชูตรง        แล้วเอาลงมาเสมอกับบ่า
ต่อไปย้ายไปข้างหน้า  แล้วเอาลงมาอยู่ในท่ายืนตรง

ความรู้ที่ได้ คือ เสมอ ลำดับ จำนวน ตำแหน่ง ทิศทาง

เพลง ซ้าย-ขวา
ยืนให้ตัวตรงก้มหัวลงตบมือแผละ
แขนซ้ายอยู่ไหนหันตัวไปทางนั้นแหละ

ความรู้ที่ได้ คือ ทิศทาง ตำแหน่ง

เพลงขวดห้าใบ
ขวด......ใบวางอยู่บนกำแพง (ซ้ำ)
เราเอาหินปาไปให้มันกลิ่งตกลงมา
คงเหลือขวด........ใบวางอยู่บนกำแพง
(เติมจำนวนลงไป)

ความรู้ที่ได้ คือ ลดจำนวน

เด็กปฐมวัยเรียนรู้อะไรในคณิตศาสตร์

-เตรียมความพร้อม

สาระและมาตราฐานการเรียนรู้

สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินงาน
สาระที่ 2 การวัด
สาระที่ 3 เรขาตณิต
สาระที่ 4 พีชคณิต
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการ

1)มีความคิดเชิงคณิตศาสตร์
-จำนวนนับ 1 -10 
-เช้าใจหลักการนับ
-รู้จักเลขฮินดูอารบิกและตัวเลขไทย
-รู้ค่าของจำนวน
-เปรียบเทียบ เรียงลำดับ
-การรวมและการแยกกลุ่ม

2)มีความเข้าใจพื้นฐานกับความยาว น้ำหนัก ปริมาตร เงิน และเวลา
-เปรียบเทียบ เรียงลำดับ และวักความยาว น้ำหนัก ปริมาตร
-รู้จักเหรียญและธนบัตร
-เข้าใจเกี่ยวกัยเวลาและคำที่ใช้บอกเวลา

3)ความรู้พื้นฐานทางเรขาคณิตศสตร์
-ตำแหน่ง(หัวหน้า) ทิศทาง(เหนือ ออก ตก ใต้) ระยะทาง (กม)
-รูปเรขาคณิตสามมิติ(รูปทรง)และสองมิติ(รูปนูน)

4)มีความเข้าใจแบบรูปของรูปสี่เหลี่ยม ขนาด 

5)มีส่วนร่วมในการใช้ข้อมูลและนำเสนอข้อมูลในรูปแผนภูมิอย่างง่าย

6)มีทักษะและกระบวนการทางครฺตที่จำเป็น